TEPE-58104 ความรู้เกี่ยวกับประชาคมอาเซียน 19/20 – ครูระยอง


TEPE-58104 ความรู้เกี่ยวกับประชาคมอาเซียน 19/20

เฉลย TEPE Online - ครูระยอง

Print Friendly

TEPE-58104 ความรู้เกี่ยวกับประชาคมอาเซียน 19/20

  • วังสราณรมย์ สัมพันธ์กับข้อใดมากที่สุด
    – ปฏิญญากรุงเทพ
  • ข้อใดไม่ใช่แผนการจัดตั้งประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน
    – การสร้างวัฒนธรรมสากล
  • การลงนามปฏิญญาอาเซียนลงนามเมื่อใด
    – 8 สิงหาคม พ.ศ.2510
  • ข้อใดไม่ใช่ 3 เสาหลักของอาเซียน
    – ประชาคมการเมืองอาเซียน
  • AFTA ย่อมาจากอะไร
    – ASEAN Free Trade Area.
  • ข้อใดไม่ใช่วัตถุประสงค์ในการร่วมกลุ่มของอาเซียน
    – เพื่อส่งเสริมความมั่นคงปลอดภัยทางการเมือง
  • ประชาคมอาเซียนประกอบด้วยเสาหลักกี่เสา อะไรบ้าง
    – 3 เสา ได้แก่ ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน
  • อาเซียนคืออะไร
    – สมาคมประชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
  • สมาชิกเริ่มแรก อาเซียน (ASEAN) กี่ประเทศ
    – 5 ประเทศ
  • ข้อใดไม่ใช่วัตถุประสงค์สำคัญในการจัดตั้งประชาคมอาเซียน
    – จำกัดเขตการค้าในภูมิภาค
  • ข้อใดเป็นการส่งเสริมเสาหลักประชาคมสังคมและวัฒนธรรมของอาเซียน
    – พัฒนาคุณภาพชีวิตของคนยากจน
  • ASEAN Political – Security Community – APSC สัมพันธ์กับข้อใดมากที่สุด
    – การส่งเสริมความสงบสุข
  • AFTA สัมพันธ์กับข้อใดมากที่สุด
    – เขตการค้าเสรี
  • รัฐมนตรีต่างประเทศของไทยในตอนลงนามปฏิญญาอาเซียนคือใคร
    – พันเอก (พิเศษ) ดร.ถนัด คอมันตร์
  • AEC มีเป้าหมายอย่างไร
    – ส่งเสริมการสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจกับประเทศในกลุ่มอาเซียน
  • AEC เกี่ยวข้องกับเสาหลักใด
    – ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
  • เป้าหมายของอาเซียน ในปี พ.ศ. 2558 คืออะไร
    – รวมตัวกันเป็นเขตเศรษฐกิจเดียว
  • สมาชิกอาเซียนในปัจจุบันมีกี่ประเทศ
    – 10 ประเทศ
  • การที่ประเทศสมาชิกความร่วมมือด้าน ต่าง ๆ เช่น เยาวชน การศึกษา การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ สาธารณสุข วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี เกี่ยวข้องข้อใดมากที่สุด
    – ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน
  • ข้อความใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้องเกี่ยวกับอาเซียน
    – มีวัตถุประสงค์เพื่อการขยายการค้าระหว่างประเทศสมาชิกและลดการค้ากับประเทศกลุ่ม

ข่าวอื่นๆ

แสดงความคิดเห็น

แสดงความคิดเห็น

TEPE-58201 การปฏิบัติการจัดการความรู้ (Knowledge Management) 16/20 – ครูระยอง


TEPE-58201 การปฏิบัติการจัดการความรู้ (Knowledge Management) 16/20

เฉลย TEPE Online - ครูระยอง

Print Friendly

TEPE-58201 การปฏิบัติการจัดการความรู้ (Knowledge Management) 16/20

  • ข้อใดไม่ใช่การเรียนรู้เป็นทีม
    – การทำกิจกรรมเพื่อสร้างผลงานที่เป็นของตนเอง
  • ข้อใดไม่ใช่ลักษณะที่สำคัญของชุมชนนักปฏิบัติ
    – มีหน้าที่ความรับผิดชอบแตกต่างกัน
  • ข้อใดกล่าวถึงจุดเน้นของการจัดการความรู้ได้อย่างถูกต้อง
    – การจัดการความรู้เน้นการสร้างพนักงานแต่ละบุคคลให้มีความชำนาญเฉพาะด้าน
  • ข้อใดกล่าวถูกต้อง
    – Know-howเป็นความรู้ที่มีทั้งเชิงทฤษฎีและเชิงบริบท
  • ข้อใดกล่าวถึงความรู้ประเภท Explicit Knowledge
    – ความรู้สากลที่คนทั่วไปเข้าถึงได้ง่าย
  • ข้อใดคือความหมายของการจัดการความรู้ของศาสตราจารย์เกียรติคุณ นายแพทย์ประเวศ วะสี
    – กระบวนการที่เป็นเครื่องมือหรือวิธีการเพิ่มมูลค่าหรือคุณค่าของกิจการขององค์กร กลุ่มบุคคล หรือเครือข่ายของกลุ่มบุคคลหรือองค์กร
  • ข้อใดกล่าวถึงบทบาทหน้าที่ของสมาชิกชุมชนนักปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง
    – คุณลิขิตเป็นผู้ที่ทำหน้าที่จดบันทึกให้กับชุมชนนักปฏิบัติ
  • ข้อใดคือขั้นตอนของการจัดการความรู้
    – การแบ่งปันความรู้
  • ข้อใดคือสมาชิกชุมชนนักปฏิบัติ
    – คุณกิจ
  • ข้อใดกล่าวถึงคุณลักษณะของสมาชิกในการเรียนรู้เป็นทีม
    – มีจุดมุ่งหมายในการทำงานให้บรรลุผลสำเร็จที่ตั้งเป้าหมาย
  • ข้อใดกล่าวถึงองค์ประกอบของการจัดการความรู้
    – พฤติกรรมการเรียนรู้
  • ข้อใดคือความหมายของ “ความรู้” ตามกระบวนการจัดการความรู้
    – สิ่งที่สั่งสมมาจากการศึกษาเล่าเรียน การค้นคว้าหรือประสบการณ์ รวมทั้งความสามารถเชิงปฏิบัติและทักษะ ความเข้าใจ
  • ข้อใดไม่ใช่องค์ประกอบของการเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม
    – ด้านความสามารถและความเข้าใจในการเรียนรู้เป็นทีม
  • ข้อใดกล่างถึงองค์ประกอบขององค์กรแห่งการเรียนรู้
    – ถูกทุกข้อ
  • ข้อใดไม่ใช่ขั้นตอนของแผนการจัดการความรู้
    – การค้นหาสมาชิก
  • ข้อใดไม่ใช่องค์ประกอบของชุมชนนักปฏิบัติของ Wenger และคณะ
    – กระบวนการ (Process)
  • ข้อใดกล่าวถึงความแตกต่างของการจัดการความรู้และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ได้อย่างถูกต้อง
    – การจัดการความรู้เน้นทุนทางความรู้ การจัดการทรัพยากรมนุษย์แบบเดิม เน้นเรื่องทักษะความชำนาญในงานที่รับผิดชอบ
  • ข้อใดกล่าวถึงความหมายของชุมชนนักปฏิบัติ
    – สมาชิกในกลุ่มพร้อมและเต็มใจที่จะเรียนรู้และแลกเปลี่ยนประสบการณ์ซึ่งกันและกัน
  • การจัดการความรู้มีความสำคัญอย่างไร
    – ถูกทุกข้อ
  • ข้อใดกล่าวถึงความรู้ประเภท Tacit Knowledge
    – ความรู้ที่มีอยู่ในตัวของแต่ละบุคคล

ข่าวอื่นๆ

แสดงความคิดเห็น

แสดงความคิดเห็น

TEPE-58103 การจัดการเรียนรู้วิชาหน้าที่พลเมือง (19/20) – ครูระยอง


TEPE-58103 การจัดการเรียนรู้วิชาหน้าที่พลเมือง (19/20)

เฉลย TEPE Online - ครูระยอง

Print Friendly

TEPE-58103 การจัดการเรียนรู้วิชาหน้าที่พลเมือง (19/20)

  • ข้อใดคือจุดเน้นของการศึกษาเพื่อความเป็นพลเมือง
    – การพัฒนาคุณลักษณะความเป็นพลเมืองที่ดีแก่เยาวชน
  • แหล่งความรู้ในชุมชนมีประโยชน์อย่างไร
    – ผู้เรียนได้รับประสบการณ์ตรง
  • แนวปฏิบัติเกี่ยวกับวิธีการและเครื่องมือในการวัดและประเมินผลมีหลักสำคัญอะไร
    – วิธีการและเครื่องมือต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้
  • การสอนโดยตรงมีจุดเน้นอะไร
    – บอกสิ่งที่ถูกต้อง
  • เกณฑ์ต่อไปนี้ไม่เกี่ยวข้องกับการประเมินข้อมูลจากหนังสือพิมพ์
    – ความถูกต้องในการใช้ภาษา
  • Rule of Law เน้นประเด็นใด
    – วิธีการปกครองด้วยกฎหมาย
  • กิจกรรมใดไม่จัดอยู่ในยุทธศาสตร์การเสริมสร้างความเป็นพลเมือง
    – การสอนสังคมศึกษาที่เน้นนักเรียนเป็นศูนย์กลาง
  • ข้อใดต่อไปนี้ไม่เกี่ยวข้องกับความหมายของความเป็นพลเมืองดี
    – การมีมารยาททางสังคม
  • ข้อใดต่อไปนี้เป็นคำอธิบายที่ถูกต้องเกี่ยวกับการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
    – การประเมินผลด้านการปฏิบัติต้องคำนึงถึงสิ่งที่ต้องการให้ชัดเจน
  • ขั้นตอนสำคัญในการจัดการเรียนการสอนรายวิชาเพิ่มเติมหน้าที่พลเมืองคืออะไร
    – การทำความเข้าใจในมโนทัศน์ / จุดเน้น / จุดประสงค์ของรายวิชา
  • ยุทธศาสตร์ใดต่อไปนี้เกี่ยวข้องกับการฝึก “พลเมืองของโรงเรียน”
    – การทำโครงงานแก้ปัญหาในสังคม
  • หนังสือพิมพ์มีประโยชน์ในการพัฒนาทักษะประเภทใด
    – ทักษะการคิด
  • ข้อใดไม่เกี่ยวข้องกับการทำงานกลุ่ม
    – การมีสัมมาคารวะ
  • ข้อความต่อไปนี้ไม่มีความสัมพันธ์กัน
    – การวิเคราะห์คุณภาพงาน – กติกาในการทำงาน
  • ผลการเรียนรู้ใดอยู่ในประเภทเดียวกัน
    – การเป็นแบบอย่าง การปฏิบัติ การชักชวน
  • ประเด็นใดต่อไปนี้เกี่ยวข้องกับการเป็นพลเมืองดีในระบอบประชาธิปไตย
    – การไปเลือกตั้งตามสิทธิ์
  • ในประเด็นเนื้อหาปรากฏว่ายุทธศาสตร์เพื่อการสร้างความเป็นพลเมืองได้มีการปรับเปลี่ยนและทบทวนเรื่องใด
    – เน้นความรู้ การเมืองการปกครองในและมาตราสำคัญของรัฐธรรมูญ
  • สื่อใดต่อไปนี้สะท้อนปัญหาสังคม การเมือง และค่านิยม
    – การ์ตูน
  • คำว่าพลเมือง (citizen) ในบริบทของพฤติกรรมหมายถึงอะไร
    – ความผูกพันในสังคม
  • Active participation เกี่ยวข้องกับความเป็นพลเมืองดีอย่างไร
    – มีส่วนร่วมกิจกรรมทางสังคมทั้งการเมือง เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม

ข่าวอื่นๆ

แสดงความคิดเห็น

แสดงความคิดเห็น

TEPE-58301 การพัฒนาด้วยวิธี Coaching ( 16/20 )

เฉลย TEPE Online - ครูระยอง

Print Friendly

TEPE-58301 การพัฒนาด้วยวิธี Coaching ( 16/20 )

  • ข้อใดไม่ใช่ความหมายของคำว่า Coaching
    – การเป็นพี่เลี้ยง
  • ข้อใดคือความแตกต่างของขั้นตอนการ Coaching เป็นกลุ่มกับการ Coaching รายบุคคล
    – การใช้วิธีการฝึกอบรม
  • ถ้า Coachee มีความรู้และทักษะดี Coach ควรใช้วิธีการสอนงานแบบใดจึงจะเหมาะสมที่สุด
    – การใช้คำถาม
  • ข้อใดคือประโยชน์ของการทำ Coaching
    – ถูกทุกข้อ
  • ข้อใดกล่าวถึงหลักพื้นฐานของการสืบสอบแบบชื่นชม
    – หลักการจินตนาการ
  • ข้อใดกล่าวถึงกระบวนการสืบสอบแบบชื่นชม
    – การสานเสวนา
  • ข้อใดกล่าวถึง “ความเป็นกัลยาณมิตรของครู”
    – เป็นผู้ที่มุ่งให้ผู้เรียนได้รับประโยชน์จากการสอน
  • ข้อใดกล่าวถึงความแตกต่างของ Coaching และ Mentoring ได้อย่างถูกต้อง
    – ถูกทุกข้อ
  • ข้อใดไม่ใช่แนวทางการจัดระบบ Coaching
    – กำหนดไว้ใน Job Description ของพนักงาน
  • ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวข้องกับคำว่า Mentoring
    – เป็นชื่อบุคคลในนิยายปรัมปรากรีกเรื่อง The Adventures of Telemachus
  • ข้อใดไม่ใช่กระบวนการ Coaching
    – การประเมินผู้ร่วมงาน
  • ข้อใดคือแนวคิดพื้นฐานของการจัดการเรียนรู้ตามแนวจิตตปัญญาศึกษา
    – การยอมรับในความแตกต่าง
  • ข้อใดไม่ใช่แนวทางการดำเนินสู่ห้องเรียนแห่งคุณภาพ
    – มีการใช้อุปกรณ์สื่อสารเพื่อส่งเสริมการเรียนการสอนอย่างครบครัน
  • ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวข้องกับคำว่า Coaching
    – ต้นกำเนิดคำนี้มาจากภาษาบัลแกเรียน
  • ข้อใดกล่าวถึงแนวคิดห้องเรียนคุณภาพ
    – มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาศักยภาพอย่างเต็มความสามารถ
  • ข้อใดไม่ใช่จุดมุ่งหมายของกระบวนการเรียนรู้ตามแนวจิตตปัญญาศึกษา
    – การเป็นผู้ประสบความสำเร็จในการเรียน
  • ข้อใดไม่ใช่แนวทางในการเป็น Coach
    – ความพร้อมของผู้เป็น Coachee
  • ข้อใดคือจุดมุ่งหมายของการสอนงาน
    – ถูกทุกข้อ
  • ข้อใดกล่าวถึงการปฏิบัติการสอนได้อย่างถูกต้อง
    – เป็นการส่งเสริม สนับสนุนการเรียนรู้เพื่อการพัฒนาตนเองของนักเรียน
  • ถ้า Coachee ยังขาดความรู้และทักษะ Coach ควรใช้วิธีการสอนงานแบบใดจึงจะเหมาะสมที่สุด
    – การบอกวิธีการทำงาน

ข่าวอื่นๆ

แสดงความคิดเห็น

แสดงความคิดเห็น

TEPE-58303 การบริหารจัดการห้องเรียนอัจฉริยะ (Smart Classroom) (20 ข้อ)

เฉลย TEPE Online - ครูระยอง

Print Friendly

TEPE-58303 การบริหารจัดการห้องเรียนอัจฉริยะ (Smart Classroom) (20 ข้อ)

  • Smart Classroom เริ่มต้นครั้งแรกเมื่อใดในประเทศไทย
    – ไม่มีหลักฐานปรากฏแน่ชัด
  • Smart Classroom ออกแบบมาเพื่อใช้งานลักษณะใด
    – ออกแบบเฉพาะต่างจากห้องเรียนปกติ
  • แนวโน้มการใช้ Smart Classroom ไม่เป็นไปตามข้อใด
    – ค่าใช้จ่ายในการซ่อมบำรุงจะถูกลง
  • ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่รูปแบบการจัดห้อง Smart Classroom
    – Three classroom architectures
  • สื่อเทคโนโลยีที่ใช้ในห้อง Smart Classroom ใดเป็นสื่อเทคโนโลยีประเภท Rendering
    – LCD Projector
  • ข้อใดไม่เป็นปัญหาและอุปสรรคสำคัญของ Smart Classroom
    – การเตรียมผู้เรียนต้องใช้ระยะเวลา
  • อุปกรณ์แสดงผลใดเหมาะสมกับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษามากที่สุด
    – LCD Projector
  • อุปกรณ์แสดงผลใดเหมาะสมกับนักเรียนชั้นประถมศึกษามากที่สุด
    – Smart Table
  • เพราะเหตุใด Real-time Interactive จึงเป็นคุณสมบัติสำคัญในการจัดการเรียนการสอนของ Smart Classroom
    – เป็นการเรียนแบบ Online
  • ข้อใดไม่ใช่ประโยชน์ของ Smart Classroom
    – เสริมสร้างทักษะการอ่านและการเขียน
  • Laser-pointer เป็นสื่อเทคโนโลยีประเภทใดใน Smart Classroom
    – Presentation Support
  • ข้อใดต่อไปนี้มีความหมายเหมือนกับห้อง Smart Classroom
    – ห้องเรียน e-Learning
  • บุคลากรใดสำคัญน้อยที่สุดในการใช้ ในการเรียนการสอน
    – ครูผู้ช่วย (Teacher Assistant)
  • เทคโนโลยีใดมีความสำคัญในการออกแบบ Smart Classroom มากที่สุด
    – ใช้เทคโนโลยีที่หลากหลาย
  • “Smart Classroom เป็นการใช้เทคโนโลยีในชั้นเรียนเชิงปฏิสัมพันธ์” มีความหมายไม่ตรงตามข้อใด
    – การใช้ซอฟท์แวร์เชิงปฏิสัมพันธ์
  • การจัดเก็บสื่อการสอนสำหรับใช้ใน Smart Classroom นิยมจัดเก็บไว้ในอุปกรณ์ใด
    – Cloud
  • องค์ประกอบใดมีความสำคัญน้อยที่สุดในระบบ Smart Classroom
    – Networking
  • การนำเสนอข้อมูลสารสนเทศแบบใดไม่ใช่การนำเสนอของ Smart Classroom
    – Flip classroom
  • เหตุผลสำคัญการนำ Smart Classroom มาใช้ในการศึกษาเพื่ออะไร
    – เพื่อเปลี่ยนกระบวนทัศน์ทางการเรียน
  • ข้อใดไม่ใช่องค์ประกอบของ Smart Classroom
    – Practice

ข่าวอื่นๆ

แสดงความคิดเห็น

แสดงความคิดเห็น

TEPE-58102 การจัดการเรียนรู้วิชาประวัติศาสตร์

เฉลย TEPE Online - ครูระยอง

Print Friendly

TEPE-58102 การจัดการเรียนรู้วิชาประวัติศาสตร์

  • เครื่องมือการวัดและประเมินผล ด้านเจตคติและค่านิยม หรือด้านความรู้สึกและอารมณ์นั้น ครูควรใช้เครื่องมือใด
    – แบบสังเกตและวิธีการที่ให้นักเรียนรายงานด้วยตนเอง
  • หลักสูตรประโยคมัธยมศึกษาตอนต้นและหลักสูตรประโยคมัธยมศึกษาตอนปลายพุทธศักราช 2503 ได้กำหนดหมวดสังคมศึกษาแยกเป็นกี่วิชา คือวิชาใดบ้าง
    – 4 รายวิชา คือ หน้าที่พลเมือง ศีลธรรม ภูมิศาสตร์ และประวัติศาสตร์
  • ข้อใดคือประโยชน์ของเส้นเวลา (Time Line)
    – ทุกข้อที่กล่าวมา
  • ถ้าต้องการให้ผู้เรียนได้ชมสถานที่สำคัญทางประวัติศาสตร์ ครูผู้สอนควรใช้สื่อแบบใดต่อไปนี้ จึงจะเหมาะสมที่สุด
    – ภาพยนตร์
  • แผนภูมิแบบใดที่ออกแบบเพื่อแสดงให้เห็นข้อแตกต่างที่สำคัญระหว่างสิ่งของจำพวกเดียวกันแต่เป็นคนละแบบ คนละลักษณะ
    – แผนภูมิเปรียบเทียบ
  • อุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้ง ตั้งอยู่ในจังหวัดใด
    – บุรีรัมย์
  • ข้อใดเป็นคุณค่าหรือประโยชน์ของวิชาประวัติศาสตร์อย่างแท้จริง
    – ช่วยให้เข้าใจวิวัฒนาการของมนุษย์และสังคมว่ามีการพัฒนาตามลำดับอย่างไร
  • “พัฒนาการของสังคมมนุษย์ คุณลักษณะของโครงสร้างทางสังคม ความเจริญทางเทคโนโลยี และการบริหาร ระดับความเจริญทางสติปัญญา และสุนทรียศาสตร์” คำอธิบายนี้ตรงกับมโนมติข้อใด
    – อารยธรรม
  • กิจกรรมข้อใดเป็นกิจกรรมพื้นฐานที่ช่วยให้ผู้เรียนเกิดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับลำดับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในประวัติศาสตร์มากที่สุด
    – กิจกรรมการเทียบศักราช และการนับช่วงเวลา
  • ประวัติศาสตร์ (history) มาจากคำในภาษากรีกว่า “Historia” ซึ่งความหมายว่าอะไร
    – การไต่สวนหรือค้นคว้า
  • หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมนั้น สาระที่ 4 ประวัติศาสตร์ ได้กำหนดมาตรฐานการเรียนรู้ไว้กี่มาตรฐาน
    – 3 มาตรฐาน
  • ข้อใดคือขั้นตอนแรกของวิธีสอนโดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์
    – การขั้นกำหนดปัญหา
  • สื่อสิ่งพิมพ์ใดที่ครูผู้สอนนิยมนำมาใช้ประกอบการเรียนการสอนวิชาประวัติศาสตร์มากที่สุด
    – แบบเรียนตำรา
  • มโนมติทางประวัติศาสตร์ข้อใดที่เกี่ยวข้องกับวิชารัฐศาสตร์มากที่สุด
    – เหตุปัจจัย
  • กิจกรรมพบปะสนทนากับผู้อาวุโสในชุมชน เป็นกิจกรรมที่จะส่งเสริมวิธีการเรียนประวัติศาสตร์แบบใด
    – ข้อ 1 และข้อ 2
  • แนวคิดที่ผู้สอนควรเน้นในกิจกรรม “การเขียนบันทึกเหตุการณ์ประจำวัน” คือข้อใดมากที่สุด
    – การบันทึกเป็นเครื่องมือสำคัญที่ทำให้มนุษย์ในปัจจุบันรู้เรื่องราวของอดีตที่มนุษย์รุ่นก่อนได้ทำไว้ การบันทึกจึงมีความสำคัญในการเรียนรู้เรื่องราวทางประวัติศาสตร์
  • หลักสูตรประโยคต่างๆ ที่ออกใช้ในปี พ.ศ. 2438 ได้มีการสอนวิชาประวัติศาสตร์ไว้ในบางส่วนของวิชาใด
    – วิชาภาษาไทย
  • พฤติกรรมที่ต้องวัดและประเมินในการเรียนการสอนวิชาประวัติศาสตร์ ได้แก่ พฤติกรรมด้านใด
    – ถูกทุกข้อ
  • ข้อใดคือคุณค่าของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยการศึกษานอกสถานที่
    ง. ทุกข้อที่กล่าวมา
  • กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 นั้น สาระประวัติศาสตร์มีการเปลี่ยนแปลงในข้อใดบ้าง
    – เพิ่มตัวชี้วัดทุกช่วงชั้น

ข่าวอื่นๆ

แสดงความคิดเห็น

แสดงความคิดเห็น

ประชุมผอ. เขตทั่วประเทศ 22 มีค.59

กระทรวงศึกษาธิการ

Print Friendly

ผอ.สพป.กทม. ร่วมประชุมผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาทั่วประเทศ ครั้งที่ 1/2559 เมื่อวันที่ 22 มีนาคม 2559 ณ โรงแรมตรัง กทม. 2559 เพื่อรับทราบนโยบายและแนวทางปฏิบัติจากเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และเป็นการติดตามดำเนินงานของเขตพื้นที่การศึกษา ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๙

ข่าวอื่นๆ

แสดงความคิดเห็น

แสดงความคิดเห็น

TEPE-58303 Smart Classroom (26 คะแนน)

เฉลย TEPE Online - ครูระยอง

Print Friendly

TEPE-58303 Smart Classroom (26 คะแนน)

  • เทคโนโลยีใดมีความสำคัญในการออกแบบ Smart Classroom มากที่สุด
    – สถาปัตยกรรมออกแบบภายใน
  • Head phone เป็นสื่อเทคโนโลยีประเภทใดใน Smart Classroom
    – Transmission
  • องค์ประกอบใดมีความสำคัญน้อยที่สุดในระบบ Smart Classroom
    – Networking
  • ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่รูปแบบการจัดห้อง Smart Classroom
    -Th ree classroom architectures
  • เพราะเหตุใด Showing จึงเป็นคุณสมบัติสำคัญในการจัดการเรียนการสอนของ Smart Classroom
    – เป็นการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศ
  • การออกแบบ Smart Classroom ไม่ตรงตามข้อใด
    – ออกแบบดัดแปลงจากห้องเรียนปกติ
  • Smart Classroom เริ่มต้นครั้งแรกเมื่อใดในประเทศไทย
    – ไม่มีหลักฐานปรากฏแน่ชัด
  • สื่อเทคโนโลยีที่ใช้ในห้อง Smart Classroom ใดเป็นสื่อเทคโนโลยีประเภท Asynchronous Support
    – Web-base
  • ข้อใดต่อไปนี้มีความหมายเหมือนกับห้อง Smart Classroom
    – ห้องเรียนแบบ Collaborative
  • ข้อใดไม่เป็นปัญหาและอุปสรรคสำคัญของ Smart Classroom
    – การเตรียมผู้เรียนต้องใช้ระยะเวลา
  • อุปกรณ์แสดงผลใดไม่เหมาะสมกับนักเรียนชั้นประถมศึกษามากที่สุด
    – Smart Table
  • Smart Classroom เริ่มต้นครั้งแรกเมื่อใดในการจัดการเรียนการสอน
    -ไม่มีหลักฐานปรากฏแน่ชัด
  • การจัดเก็บสื่อการสอนสำหรับใช้ใน Smart Classroom นิยมจัดเก็บไว้ในอุปกรณ์ใด
    – ถูกทุกข้อ
  • “Smart Classroom เป็นการใช้เทคโนโลยีในชั้นเรียนเชิงปฏิสัมพันธ์” มีความหมายตรงตามข้อใด
    – การจัดเรียนการเรียนเน้นปฏิสัมพันธ์
  • เหตุผลสำคัญการนำ Smart Classroom มาใช้ในการศึกษาเพื่ออะไร
    – เพื่อเพิ่มโอกาสการเข้าถึงการศึกษา
  • ข้อใดไม่ใช่องค์ประกอบของ Smart Classroom
    – Practice
  • องค์ประกอบใดมีความสำคัญมากที่สุดในระบบ Smart Classroom
    – People ware
  • บุคลากรใดสำคัญน้อยที่สุดในการใช้ ในการเรียนการสอน
    – ผู้ดูแลห้อง Smart Classroom
  • เหตุผลสำคัญการนำ Smart Classroom มาใช้ในการศึกษาเพื่ออะไร
    – เพื่อลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา
  • การนำเสนอข้อมูลสารสนเทศแบบใดเป็นการนำเสนอของ Smart Classroom
    – Cloud Computing
  • สื่อเทคโนโลยีที่ใช้ในห้อง Smart Classroom ใดเป็นสื่อเทคโนโลยีประเภท Rendering
    – ทุกข้อที่กล่าวมา
  • แนวโน้มการใช้ Smart Classroom ในอนาคตจะเป็นอย่างไร
    – ปรับตัวตามเทคโนโลยีที่ไม่มีวันสิ้นสุด
  • อุปกรณ์แสดงผลใดไม่เหมาะสมกับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษามากที่สุด
    – TV
  • “Smart Classroom เป็นการใช้เทคโนโลยีในชั้นเรียนเชิงปฏิสัมพันธ์” มีความหมายไม่ตรงตามข้อใด
    – การจัดเรียนการสอนเน้นปฏิสัมพันธ์
  • เทคโนโลยีใดมีความสำคัญในการออกแบบ Smart Classroom น้อยที่สุด
    – ระบบการบันทึกภาพและเสียง
  • การนำเสนอข้อมูลสารสนเทศแบบใดไม่ใช่การนำเสนอของ Smart Classroom
    – Flip classroom
  • ข้อใดไม่ใช่ประโยชน์ของ Smart Classroom
    – เสริมสร้างทักษะการอ่านและการเขียน
  • ข้อใดไม่ใช่องค์ประกอบของ Smart Classroom
    – Learning
  • ข้อใดต่อไปนี้มีความหมายเหมือนกับห้อง Smart Classroom
    – ห้องเรียน e-Learning
  • แนวโน้มการใช้ Smart Classroom ไม่เป็นไปตามข้อใด
    – ค่าใช้จ่ายในการซ่อมบำรุงจะถูกลง
  • อุปกรณ์แสดงผลใดเหมาะสมกับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษามากที่สุด
    – Smart Table
  • Smart Classroom ออกแบบมาเพื่อใช้งานลักษณะใด
    – ออกแบบโดยใช้หลัก Instruction Design
  • อุปกรณ์แสดงผลใดเหมาะสมกับนักเรียนชั้นประถมศึกษามากที่สุด
    – Computer PC
  • Laser-pointer เป็นสื่อเทคโนโลยีประเภทใดใน Smart Classroom
    – Presentation Support
  • ข้อใดเป็นปัญหาและอุปสรรคสำคัญของ Smart Classroom
    – ค่าใช้จ่ายในการซ่อมบำรุงรักษาสูง
  • ข้อใดต่อไปนี้เป็นรูปแบบการจัดห้อง Smart Classroom
    – Theater classroom architectures
  • การจัดเก็บสื่อการสอนสำหรับใช้ใน Smart Classroom ไม่นิยมจัดเก็บไว้ในอุปกรณ์ใด
    – DVD
  • บุคลากรใดสำคัญมากที่สุดในการใช้ ในการเรียนการสอน
    – ครูผู้สอน
  • เพราะเหตุใด Real-time Interactive จึงเป็นคุณสมบัติสำคัญในการจัดการเรียนการสอนของ Smart Classroom
    – เป็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ไม่จำกัดในห้องเรียน
  • ข้อใดคือประโยชน์ของ Smart Classroom
    – เกิดการแลกเปลี่ยนความรู้ร่วมกัน

ข่าวอื่นๆ

แสดงความคิดเห็น

แสดงความคิดเห็น

TEPE-58302 การเสริมสร้างทักษะชีวิตเพื่อป้องกันยาเสพติด ได้ 17/20

เฉลย TEPE Online - ครูระยอง

Print Friendly

TEPE-58302 การเสริมสร้างทักษะชีวิตเพื่อป้องกันยาเสพติด ได้ 17/20

  • องค์ประกอบของทักษะชีวิตข้อใดไม่ปรากกฎตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
    – การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ
  • เมื่อนักเรียนถูกเพื่อนชักชวนดื่มสุราและสูบบุหรี่บ่อยครั้ง จึงขอคำแนะนำการปฏิเสธเพื่อนจากครูผู้สอน ครูผู้สอนควรให้เหตุผลในการปฏิเสธเพื่อนตามข้อใดจึงจะเหมาะสม
    – ขอโทษด้วยนะ ฉันคงไปกับเธอไม่ได้ เพราะสุราและบุหรี่เป็นอันตรายต่อร่างกาย เธอก็ควรเลิกนะ สิ่งเหล่านี้มันไม่ดีต่อเธอเลย
  • ข้อใดให้ความหมายของสารเสพติดได้ครบถ้วนชัดเจนตามองค์การอนามัยโลก (WHO) มากที่สุด
    – ยา สาร หรือวัตถุใด ซึ่งเมื่อเสพเข้าสู่ร่างกายไม่ว่าจะโดยวิธีใดก็ตามก่อให้เกิดผลต่อร่างกายและจิตใจ
  • การเลือกสื่อและแหล่งการเรียนรู้เพื่อประกอบในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ครูผู้สอนควรคำนึงถึงสิ่งใดมากที่สุด
    – ความเหมาะสม
  • การถูกเพื่อนชักชวนให้ลองใช้สารเสพติดสามารถเกิดขึ้นได้กับนักเรียนทุกคน ครูผู้สอนจะใช้วิธีการสอนรูปแบบใดเพื่อให้นักเรียนสามารถมีทักษะในการป้องกันในกรณีดังกล่าว
    – การฝึกทักษะปฏิเสธ
  • การจัดสารวัตรนักเรียนเป็นกิจกรรมใดในโครงการเสริมสร้างทักษะชีวิตเพื่อป้องกันการใช้สารเสพติด
    – การจัดบริการป้องกันการใช้สารเสพติด
  • รูปแบบการสอนใดที่สร้างเสริมทักษะชีวิตเพื่อป้องกันการใช้สารเสพติดได้น้อยที่สุด
    – การบรรยาย
  • การจัดโครงการเสริมสร้างทักษะชีวิตเพื่อป้องกันการใช้สารเสพติด ต้องอาศัยสิ่งใดเป็นสำคัญจึงจะประสบความสำเร็จ
    – ความร่วมมือของบุคลากรทุกคนในโรงเรียน
  • กิจกรรมใดไม่จัดเป็นกิจกรรมเสริมหลักสูตร
    – กิจกรรมการสอนแบบบูรณาการ
  • สิ่งใดที่ครูผู้สอนจำเป็นต้องกระทำมากที่สุดเพื่อให้ประเมินผลการเรียนรู้ได้ตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    – กำหนดเกณฑ์ให้คะแนน
  • การจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อป้องกันการใช้สารเสพติดครูผู้สอนควรมีความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสารเสพติดและทักษะชีวิตอย่างถ่องแท้ เพราะเหตุใด
    – เพื่อให้สามารถจัดกิจกรรมการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  • ทักษะชีวิตตามองค์การอนามัยโลก (WHO) องค์ประกอบใดที่ช่วยให้ผู้เรียนสามารถประเมินทางเลือกและผลจากการเลือก
    – การตัดสินใจ
  • ครูผู้สอนจะใช้วิธีการสอนรูปแบบใดเพื่อให้นักเรียนสามารถแสดงความคิดเห็นได้มากที่สุด
    – การโต้วาที
  • การจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรใดที่สามารถให้นักเรียนได้แสดงความคิดเห็นและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ได้มากที่สุด
    – การจัดโครงการพี่แนะนำน้อง หรือเพื่อนแนะนำเพื่อน
  • สาระการเรียนรู้เรื่องสารเสพติดในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ อยู่ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ใดมากที่สุด
  • – กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
  • การป้องกันการใช้สารเสพติดนั้นต้องการให้ผู้เรียนมีทักษะชีวิตองค์ประกอบใดมากที่สุดตามองค์การอนามัยโลก
    – ทุกองค์ประกอบ
  • ครูผู้สอนจะทราบพัฒนาการของนักเรียนจากการประเมินการเรียนรู้ในส่วนใด
    – ประเมินผลระหว่างการเรียนรู้
  • ครูผู้สอนต้องการสื่อเกี่ยวกับโทษของสารเสพติด ควรขอคำแนะนำ สื่อการเรียนรู้ จากหน่วยงานใดจึงจะได้รับประโยชน์ได้มากที่สุด
    – กรมอนามัย
  • การจัดโครงการเสริมสร้างทักษะชีวิตเพื่อป้องกันการใช้สารเสพติด แบ่งได้ตามข้อใด
    – การจัดสิ่งแวดล้อม การบริการป้องกันการใช้สารเสพติด การจัดการเรียนการสอน
  • การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในการเสริมสร้างทักษะชีวิตเพื่อป้องกันการใช้สารเสพติดควรมีลักษณะอย่างไร
    – เป็นกิจกรรมที่ให้นักเรียนได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน

โดย : ทองแม้น เอี่ยมอาจหาญ

ข่าวอื่นๆ

แสดงความคิดเห็น

แสดงความคิดเห็น

TEPE-58304 ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน 14/20 คะแนน

เฉลย TEPE Online - ครูระยอง

Print Friendly

TEPE-58304 ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน 14/20 คะแนน

  • ข้อใดกล่าวถึงกระบวนการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนได้ถูกต้อง
    – รู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล คัดกรองนักเรียน ส่งเสริมพัฒนา ป้องกันและแก้ไขปัญหา ส่งต่อนักเรียน
  • การนำผลการประเมินมาปรับปรุงจุดอ่อนและพัฒนาในส่วนที่ดีเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งในการดำเนินงานจัดอยู่ในขั้นตอนใด
    – CHECK
  • แนวทางการพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนในอนาคตที่สำคัญที่สุดควรเริ่มต้นจาก
    – สร้างความตระหนักถึงความสำคัญและความเข้าใจในกระบวนการของระบบ
  • ข้อใดไม่ใช่วัตถุประสงค์หลักของระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
    – การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษานักเรียนทั้งระบบ
  • กิจกรรมในข้อใดจัดเป็นกระบวนการดูแลช่วยเหลือนักเรียนในขั้นตอนการแก้ไขปัญหานักเรียน
    – ครูหมากจัดโครงการพี่ช่วยน้องผองช่วยเพื่อนเพื่อให้นักเรียนที่เรียนเก่งสอนเสริมให้แก่เพื่อนที่เรียนอ่อน
  • ท่านคิดว่าวิธีการของครูท่านใดไม่ถูกต้องตามหลักการเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อการรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล
    – ครูสมรนำเหตุการณ์จากบันทึกประจำวันที่นักเรียนเขียนเล่าประสบการณ์ที่เคยเจอปัญหามาเป็นกรณีตัวอย่างให้นักเรียนในห้องได้เรียนรู้
  • การให้ข้อมูลย้อนกลับแก่นักเรียนที่ปรับพฤติกรรมตนเองให้เป็นไปในทางที่ดีขึ้นต่อไปนี้ ข้อใดไม่เหมาะสม
    – ให้ข้อมูลย้อนกลับแก่นักเรียนทั้งห้องโดยรวมไปพร้อมๆ กัน
  • ข้อใดไม่ใช่ผลผลิตที่เป็นจุดเน้นของระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
    – นักเรียนมีทักษะทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
  • ตัวอย่างการจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมพัฒนา ป้องกันและแก้ไขปัญหาการติดเกมของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายที่เหมาะสมที่สุด
    – จัดเวทีให้นักเรียนถกปัญหาการติดเกมของวัยรุ่นไทยและเสนอแนวทางแก้ไข
  • ข้อใดเป็นปัจจัยสำคัญที่ส่งผลต่อความสำเร็จของระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
    – เจตคติที่ดีและความสามารถของครูในการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
  • สภาพการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนในสถานศึกษาปัจจุบันเป็นอย่างไร
    – ส่วนใหญ่คัดกรองนักเรียนออกเป็นกลุ่มปกติและกลุ่มเสี่ยง
  • ข้อใดไม่ใช่มาตรฐานที่ใช้ในการประเมินระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
    – สถานศึกษามีบุคลากร สื่อ และเครื่องมือ ที่เอื้อต่อการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
  • ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการคัดกรองนักเรียน
    – นักเรียนกลุ่มปกติคือกลุ่มที่โรงเรียนไม่จำเป็นต้องดำเนินการใดๆ เนื่องจากนักเรียนผ่านเกณฑ์การคัดกรองว่ามีความพร้อมในทุกด้าน
  • ข้อใดไม่เกี่ยวข้องกับความเป็นมาของระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
    – การกำหนดมาตรฐานและตัวชี้วัดในการประเมินองค์ประกอบด้านนักเรียน ด้านกระบวนการ และด้านปัจจัย
  • ต่อไปนี้เป็นการเสริมแรงที่ครูที่ปรึกษา/ครูประจำชั้นใช้กับนักเรียนชั้น ม.5 คนหนึ่งซึ่งปกติมักไม่ส่งงาน เมื่อนักเรียนคนดังกล่าวส่งงาน คำพูดของครูต่อไปนี้ข้อใดเหมาะสมที่สุด
    – ครูพูดว่า “ดีที่รู้จักปรับปรุงตนเอง คราวหลังอย่าขาดส่งงานอีกนะ”
  • ข้อใดต่อไปนี้กล่าวถูกต้องเกี่ยวกับปัญหาของระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนในสถานศึกษาที่เกี่ยวกับครูประจำชั้น/ครูที่ปรึกษา
    – ถูกทุกข้อที่กล่าวมา
  • ท่านเห็นด้วยกับหลักคิดในการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนในข้อใดมากที่สุด
    – ครูควรใช้เวลาและวิธีการที่แตกต่างกันในการดูแลช่วยเหลือนักเรียนแต่ละคนตามควรแก่กรณีของตน
  • ความรู้สึกและความคิด/ความเชื่อของนักเรียนในข้อใดต่อไปนี้ ที่ครูควรพิจารณาเป็นหลักสำคัญในการพัฒนาแรงจูงใจของนักเรียนให้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมไปในทางที่ดีขึ้น
    – ความรู้สึกเห็นคุณค่าในตนเอง และ ความคิด/ความเชื่อว่าตนสามารถทำได้
  • ต่อไปนี้เป็นกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการรับมือกับปัญหานักเรียน
    – ควรพยายามแก้ไขปัญหาของนักเรียนคนหนึ่งๆให้ครบถ้วนทุกปัญหา
  • ข้อใดจัดเป็นการส่งต่อภายใน
    – การส่งต่อนักเรียนไปพบครูแนะแนว

ข่าวอื่นๆ

แสดงความคิดเห็น

แสดงความคิดเห็น

Our partners from Mexico:
Productos de salud
Carlos Torre