TEPE-58301 การพัฒนาด้วยวิธี Coaching ( 16/20 )

เฉลย TEPE Online - ครูระยอง

Print Friendly

TEPE-58301 การพัฒนาด้วยวิธี Coaching ( 16/20 )

  • ข้อใดไม่ใช่ความหมายของคำว่า Coaching
    – การเป็นพี่เลี้ยง
  • ข้อใดคือความแตกต่างของขั้นตอนการ Coaching เป็นกลุ่มกับการ Coaching รายบุคคล
    – การใช้วิธีการฝึกอบรม
  • ถ้า Coachee มีความรู้และทักษะดี Coach ควรใช้วิธีการสอนงานแบบใดจึงจะเหมาะสมที่สุด
    – การใช้คำถาม
  • ข้อใดคือประโยชน์ของการทำ Coaching
    – ถูกทุกข้อ
  • ข้อใดกล่าวถึงหลักพื้นฐานของการสืบสอบแบบชื่นชม
    – หลักการจินตนาการ
  • ข้อใดกล่าวถึงกระบวนการสืบสอบแบบชื่นชม
    – การสานเสวนา
  • ข้อใดกล่าวถึง “ความเป็นกัลยาณมิตรของครู”
    – เป็นผู้ที่มุ่งให้ผู้เรียนได้รับประโยชน์จากการสอน
  • ข้อใดกล่าวถึงความแตกต่างของ Coaching และ Mentoring ได้อย่างถูกต้อง
    – ถูกทุกข้อ
  • ข้อใดไม่ใช่แนวทางการจัดระบบ Coaching
    – กำหนดไว้ใน Job Description ของพนักงาน
  • ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวข้องกับคำว่า Mentoring
    – เป็นชื่อบุคคลในนิยายปรัมปรากรีกเรื่อง The Adventures of Telemachus
  • ข้อใดไม่ใช่กระบวนการ Coaching
    – การประเมินผู้ร่วมงาน
  • ข้อใดคือแนวคิดพื้นฐานของการจัดการเรียนรู้ตามแนวจิตตปัญญาศึกษา
    – การยอมรับในความแตกต่าง
  • ข้อใดไม่ใช่แนวทางการดำเนินสู่ห้องเรียนแห่งคุณภาพ
    – มีการใช้อุปกรณ์สื่อสารเพื่อส่งเสริมการเรียนการสอนอย่างครบครัน
  • ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวข้องกับคำว่า Coaching
    – ต้นกำเนิดคำนี้มาจากภาษาบัลแกเรียน
  • ข้อใดกล่าวถึงแนวคิดห้องเรียนคุณภาพ
    – มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาศักยภาพอย่างเต็มความสามารถ
  • ข้อใดไม่ใช่จุดมุ่งหมายของกระบวนการเรียนรู้ตามแนวจิตตปัญญาศึกษา
    – การเป็นผู้ประสบความสำเร็จในการเรียน
  • ข้อใดไม่ใช่แนวทางในการเป็น Coach
    – ความพร้อมของผู้เป็น Coachee
  • ข้อใดคือจุดมุ่งหมายของการสอนงาน
    – ถูกทุกข้อ
  • ข้อใดกล่าวถึงการปฏิบัติการสอนได้อย่างถูกต้อง
    – เป็นการส่งเสริม สนับสนุนการเรียนรู้เพื่อการพัฒนาตนเองของนักเรียน
  • ถ้า Coachee ยังขาดความรู้และทักษะ Coach ควรใช้วิธีการสอนงานแบบใดจึงจะเหมาะสมที่สุด
    – การบอกวิธีการทำงาน

ข่าวอื่นๆ

แสดงความคิดเห็น

แสดงความคิดเห็น

krurayong

ผู้เขียน: krurayong

สุธาราทิพย์ แสงสุวรรณ เป็นที่ปรึกษาและติดยาเสพติดอายุ 31 ปีที่โรงพยาบาลศรีวิชัย เธอสำเร็จการศึกษาจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในปี 2553 เธอทำงานกับทั้งวัยรุ่นและผู้ใหญ่เพื่อจัดการกับปัญหาการเสพติดและพฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับยาเสพติดและแอลกอฮอล์ ในเวลาว่างของเธอเธอมีส่วนร่วมในชมรมละครของชุมชนท้องถิ่น